แบบฝึกหัดท้ายคลิป

ดูคลิปเรื่องการหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6จบแล้ว ลองทำแบบฝึกหัดท้ายคลิป เพื่อฝึกฝนและทดสอบความเข้าใจกันค่ะ

 

 

วีดีโอเรื่องการหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6

 

การหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6 สอนโดย

พี่โต๋ วชิรา โอภาสวัฒนา

  • เมื่อเรียนเนื้อหาเรื่องการหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6เสร็จแล้ว ลองทำแบบฝึกหัดท้ายคลิปด้วยนะคะ เพื่อให้เรารู้เรื่องเนื้อหานี้ได้ถ่องแท้
  • เรียนควบคู่กับหนังสือค่ะ สามารถ Download เป็น PDF และ Print เองได้เลย หรือถ้าไม่อยาก Print ก็มีหนังสือเป็นเล่มให้สั่งซื้อค่ะ สั่งซื้อหนังสือ

 

เกี่ยวกับการหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6

อธิบายเรื่อง การวิเคราะห์ค่าความจริงของกลุ่มประพจน์ พร้อมตัวอย่าง

 

วิธีการใช้งาน VDO Player เวอร์ชั่นใหม่

(A) ส่วนควบคุมคลิปวีดีโอ สามารถกดหยุด เล่นต่อ ปรับความเร็ว ปรับเสียง ซูมเต็มหน้าจอ ได้ครับ

(B) รายละเอียดคลิปวีดีโอที่เล่นอยู่ ระดับชั้น ความยาว ชื่อผู้สอน หน้าในหนังสือ (กรณีสั่งซื้อหนังสือเรียนเพิ่ม) และ link download ชีทเรียนในรุปแบบ pdf ครับ

(C) Table of Content เป็นเหมือนสารบัญ คลิ๊กได้ด้วยนะว่าอยากเรียนเรื่องอะไร ไม่ต้องกรอเอง >_<

(D) แบบฝึกหัดท้ายคลิป ในส่วนนี้ จะทำก่อนหรือทำหลังดูคลิปก็ได้ทั้งนั้นครับ มีระบบตรวจคะแนนพร้อมคลิปเฉลยครับ

(E) คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับคลิป มีคำถามถามได้ตรงนี้เลยนะครับ

วิธีแก้ปัญหาเบื้องต้น

ในกรณีที่วีดีโอไม่โหลด หรือค้าง ให้กด Ctrl+F5 (หรือ Ctrl+R) เพื่อสั่งให้โหลดใหม่นะครับ

 

 

พูดคุยเรื่อง การหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6

มีคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับคลิป การหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6 หรือถ้ายังไม่เข้าใจตรงไหน โพสต์คำถามของน้องๆลงในช่องข้างล่างนี้ (เฉพาะคำถามที่เกี่ยวข้องกับ การหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6 เท่านั้นนะ) อย่าแค่บอกว่าสงสัย ให้บอกว่าสงสัยอะไร ยังไง อยากทำอย่างไร จะได้รับคำตอบถูกจุดไปเลย ผู้สอนจะได้รับทราบและกลับมาตอบให้น้องได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วค่ะ

แต่ถ้าน้องมีคำถามนอกเรื่องที่ไม่เกี่ยวกับ การหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6 ให้ถามได้ที่ เว็บบอร์ด นะคะ

 

 

# 22 มิ.ย. 2557, 16:09:34 แจ้งลบ
พี่คะ ตัวอย่างที่3 ถ้าคิดกรณีที่ 2 Fก็ต่อเมื่อF ผลลัพธ์ออกมาจะได้เท่ากับ กรณีที่1 ที่เป็น Tก็ต่อเมื่อT มั้ยคะ
# 24 มิ.ย. 2557, 10:53:29 แจ้งลบ
กรณีที่สอง จะขัดแย้งกันเองค่ะ ใช้ไม่ได้อยู่ดีค่ะ
# 21 มี.ค. 2562, 15:56:25 แจ้งลบ
สรุปง่ายๆว่า ประพจน์ที่ไม่ราบว่าความจริง คือไม่ต้องคิดใช่มั้ยครับ
# 21 มี.ค. 2562, 21:45:47 แจ้งลบ
แค่ยังไม่ต้องคิด
ถ้าคิดได้ ก็ค่อยคิดค่ะ
เหมือนกับยังไม่ทราบค่า ก็ยังไม่รู้จะทำอะไรกับมัน ก็ต้องเอาไว้ก่อนจ้า
# 17 มิ.ย. 2557, 21:25:35 แจ้งลบ
พี่คะทำไม p ถึงเป็นเท็จคะ ตัวอย่างที่สามน่ะค่ะ
# 18 มิ.ย. 2557, 02:10:28 แจ้งลบ
กรณีที่ 1 ใช่มั๊ยคะ
ไปคิดวงเล็บหลังก่อน ได้ q เป็น F กับ r เป็น T
แล้วเอามาแทนในวงเล็บแรก ค่ะ ซึ่งบังคับให้ผลเป็นจริง

ลองค่อยๆ ฟังอีกทีนะคะ พี่อธิบายไว้ในคลิปเลยค่ะ
# 28 ต.ค. 2554, 22:26:24 แจ้งลบ
ขอบคุณคะ :)
# 20 พ.ค. 2557, 12:28:50 แจ้งลบ
เข้าใจมากๆ ค่ะตั้งใจอ่านหนังสือ
# 22 พ.ค. 2557, 09:45:14 แจ้งลบ
Yeah ทำได้แล้ว !!!
# 10 ต.ค. 2557, 22:37:11 แจ้งลบ
HappyHappyYou Geat!!You Geat!!
# 03 เม.ย. 2558, 14:45:02 แจ้งลบ
ตั้งใจอ่านหนังสือ
# 18 เม.ย. 2559, 13:58:38 แจ้งลบ
ขอบคุณค่ะ ^O^
# 1 วินาทีที่แล้ว แจ้งลบ

ตอบ: การหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6

กรุณา Login เข้าสู่ระบบเพื่อโพสต์ในบทสนทนานี้

 

 

หรือคุณสามารถ สมัครสมาชิกได้ฟรี สมัครวันนี้รับสิทธิ์เข้าเรียนคอร์สออนไลน์ฟรี 5 ชั่วโมง!

 

 

ขึ้นบน
อัพเดทล่าสุด: 20 เมษายน 2567   สงวนลิขสิทธิ์ 2553-2566 DekTalent.com การหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่างที่ 3-6 [วีดีโอ 11:43 นาที] - เรียนออนไลน์ที่เว็บ DekTalent.com Page Load Time: 0.678 วินาที IN