แบบฝึกหัดท้ายคลิป

ดูคลิปเรื่องความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลาจบแล้ว ลองทำแบบฝึกหัดท้ายคลิป เพื่อฝึกฝนและทดสอบความเข้าใจกันค่ะ

 

 

วีดีโอเรื่องความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา

 

ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา สอนโดย

พี่โต๋ วชิรา โอภาสวัฒนา

  • เมื่อเรียนเนื้อหาเรื่องความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลาเสร็จแล้ว ลองทำแบบฝึกหัดท้ายคลิปด้วยนะคะ เพื่อให้เรารู้เรื่องเนื้อหานี้ได้ถ่องแท้
  • เรียนควบคู่กับหนังสือค่ะ สามารถ Download เป็น PDF และ Print เองได้เลย หรือถ้าไม่อยาก Print ก็มีหนังสือเป็นเล่มให้สั่งซื้อค่ะ สั่งซื้อหนังสือ

 

เกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา

อธิบายเรื่อง ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา พร้อมตัวอย่าง

 

วิธีการใช้งาน VDO Player เวอร์ชั่นใหม่

(A) ส่วนควบคุมคลิปวีดีโอ สามารถกดหยุด เล่นต่อ ปรับความเร็ว ปรับเสียง ซูมเต็มหน้าจอ ได้ครับ

(B) รายละเอียดคลิปวีดีโอที่เล่นอยู่ ระดับชั้น ความยาว ชื่อผู้สอน หน้าในหนังสือ (กรณีสั่งซื้อหนังสือเรียนเพิ่ม) และ link download ชีทเรียนในรุปแบบ pdf ครับ

(C) Table of Content เป็นเหมือนสารบัญ คลิ๊กได้ด้วยนะว่าอยากเรียนเรื่องอะไร ไม่ต้องกรอเอง >_<

(D) แบบฝึกหัดท้ายคลิป ในส่วนนี้ จะทำก่อนหรือทำหลังดูคลิปก็ได้ทั้งนั้นครับ มีระบบตรวจคะแนนพร้อมคลิปเฉลยครับ

(E) คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับคลิป มีคำถามถามได้ตรงนี้เลยนะครับ

วิธีแก้ปัญหาเบื้องต้น

ในกรณีที่วีดีโอไม่โหลด หรือค้าง ให้กด Ctrl+F5 (หรือ Ctrl+R) เพื่อสั่งให้โหลดใหม่นะครับ

 

 

พูดคุยเรื่อง ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา

ดูวีดีโอเรื่อง ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา จบแล้ว หากน้องๆมีคำถามหรือข้อสงสัยอะไร ถามได้ทันที แค่คอมเม้นท์มาใต้คลิป ถ้าไม่เข้าใจเลย ใจเย็นๆนะ ลองดูวีดีโอซ่ำอีกสักรอบก่อน แล้วค่อยมาดูว่าสงสัยตรงไหน พยายามหาจุดที่สงสัยให้เจอ แล้วถามค่ะ พี่โต๋จะช่วยอธิบายข้อสงสัยเรื่อง ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา เพื่อจะได้เรียนบทเรียน สถิติ3 ได้เข้าใจมากขึ้น

นอกจากนี้ยังมีเว็บบอร์ดให้น้องๆได้ถามเกี่ยวกับเรื่องอื่นๆที่อยากรู้ โพสต์ถามได้ที่ เว็บบอร์ด นะคะ

 

 

# 15 ต.ค. 2556, 15:13:32 แจ้งลบ
ผมอยากทราบว่า ตัวอย่างที่สอง ตรงค่า x ที่เราสมมติขึ้น ทำไมเราต้องสมมติค่า เป็น -5 -3 -1 1 3 5 ครับ แล้วเราจะสมมติค่าเป็น -3 -2 -1 1 2 3 ได้หรือไม่ครับ
# 16 ต.ค. 2556, 17:11:52 แจ้งลบ
สมมติค่าเป็น -3 -2 -1 1 2 3 ไม่ได้ค่ะ เพราะว่าช่วงห่างไม่เท่ากัน ตรง -1 ถึง 1 จะห่างกันมากกว่าตัวอื่นๆ
# 13 ม.ค. 2560, 02:21:41 แจ้งลบ
พี่ครับ ตัวอย่างที่ 2 ตรง ซิม่า X ใช้ตัวอื่นแทนได้ใหมครับที่ให้เท่ากับ 0 หรือต้องเอาเป็นเลขคี่เท่านั้น ตอบหน่อยนะครับ พน. สอบแล้ววว
# 13 ม.ค. 2560, 20:58:13 แจ้งลบ
ใช้ตัวอื่นได้ แต่ใช้ตามที่ทำให้ดูอะดีแล้วนะ

ให้น้องดูเทียบกับ ตัวอย่างที่ 1 ค่ะ
(ตัวอย่างที่ 1 จะใช้เป็น -2,-1,0,1,2 เพราะจำนวนชั้นเป็นเลขคี่)

ตัวอย่างที่ 2 จำนวนชั้นเป็นเลขคู่ เลยใช้เป็น -5,-3,-1,1,3,5

ทำแบบที่ทำให้ดู ดีอีกอย่างคือ เวลาทำแล้วจะได้ x = 0
ตัวแปรก็จะหายไปเลยตัวนึงเลยค่ะ
# 18 ก.ย. 2557, 16:39:23 แจ้งลบ
พี่โต๋ครับ จากตัวอย่างข้อ 1 และ 2 ที่พี่ทำมา
ทำไมต้องสมมติให้ซิกมา x เป็นเลขต่างๆ แล้วบวกกันได้ 0 อ่ะครับ
งงตรงนี้ครับพี่
# 20 ก.ย. 2557, 18:38:53 แจ้งลบ
จะได้ง่ายค่ะ
จะสมมติเป็น 1,2,3,4,5 ก็ได้ แต่ยากกว่า
# 23 มิ.ย. 2557, 21:21:33 แจ้งลบ
พี่โต๋ค่ะ
ความสัมพันธ์แบบเอ็กโพแนนเชียล
ทำนายค่า x เมื่อ y=20
Y2 =148 y3=810 y4= 4756 xy2=613
# 24 มิ.ย. 2557, 10:43:19 แจ้งลบ
ทำเหมือนกันเลยจ้า แต่ที่พิมพ์มาดูไม่รู้เรื่องเลยอ่ะ
ถ่ายรูปแล้วไปโพสในเวบบอร์ดได้นะคะ
# 06 พ.ค. 2557, 20:53:28 แจ้งลบ
เศร้า
# 1 วินาทีที่แล้ว แจ้งลบ

ตอบ: ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา

กรุณา Login เข้าสู่ระบบเพื่อโพสต์ในบทสนทนานี้

 

 

หรือคุณสามารถ สมัครสมาชิกได้ฟรี สมัครวันนี้รับสิทธิ์เข้าเรียนคอร์สออนไลน์ฟรี 5 ชั่วโมง!

 

 

ขึ้นบน
อัพเดทล่าสุด: 19 มีนาคม 2567   สงวนลิขสิทธิ์ 2553-2566 DekTalent.com ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา [วีดีโอ 12:01 นาที] - เรียนออนไลน์ที่เว็บ DekTalent.com Page Load Time: 0.572 วินาที IN